ซัพพลายเชน

แนวคิดการย้ายฐานการผลิตกลับสู่ประเทศตนเองได้รับความสนใจอีกครั้งในสหราชอาณาจักร

ในหลายทศวรรษที่ผ่านมา แนวคิดของโลกาภิวัตน์ขับเคลื่อนการเติบโตของเศรษฐกิจโลก มีการจ้าง Outsource จากประเทศที่มีต้นทุนการผลิตต่ำ และซัพพลายเชนที่มีขนาดใหญ่ระดับโลก เช่น ฟรุ้ตคัพ พีชที่ปลูกในอาร์เจนตินาแต่นำไปแพ็กลงถ้วยที่ไทย และขนส่งมาจำหน่ายที่สหรัฐอเมริกา ลักษณะซัพพลายเชนเช่นนี้อาจไม่สมเหตุผลเพราะย้อนไปมา แต่ก็มีความสมเหตุสมผลในด้านของต้นทุนที่ถูกที่สุด 

ปัญหาความขัดแย้ง หวั่นกระทบนำเข้า-ส่งออกอุตสาหกรรมเหล็ก

สงครามการค้าระหว่างจีนกับสหรัฐอเมริกาที่เริ่มมาตั้งแต่ปี 2017 สมัยประธานาธิดีโดนัลด์ ทรัมป์ ทำให้เกิดกระแสที่เรียกว่า ‘Supply Chain Decoupling’ หรือ การแยกออกของซัพพลายเชน จากแต่เดิมในยุคโลกาภิวัตน์ที่เน้นการเป็นซัพพลายเชนขนาดใหญ่ มีจีนเป็นผู้ผลิตป้อนสินค้าราคาถูกให้กับโลก ในปัจจุบันบริษัทผู้ผลิตต่าง ๆ ได้ย้ายออกจากจีนเพื่อหลีกเลี่ยงผลกระทบจากการกีดกันทางการค้า 

ผู้ผลิตแก้ปัญหาการขาดแคลนแรงงานและซัพพลายเชนอย่างไร?

ในยุคที่อุปสงค์ลดลง เศรษฐกิจจะถดถอยในอีกหลายปีถัดจากนี้ ธุรกิจจำเป็นต้องปรับให้มีความคล่องตัวมากขึ้น ผู้ผลิตในสหราชอาณาจักรเกือบ 4 ใน 5 เพิ่มการลงทุน ปรับปรุงประสิทธิภาพ ความคล่องตัว เพื่อบรรเทาผลกระทบทางเศรษฐกิจในระดับโลก ไม่เพียงแต่เพื่อความอยู่รอดแต่เพื่อการเติบโตต่อไป ในบทความนี้สะท้อนทัศนคติของผู้ผลิตสหราชอาณาจักรที่มีต่อเรื่องของการปรับตัวเพื่อก้าวต่อไปข้างหน้า 

คาดการณ์ 3 อันดับระบบซัพพลายเชนที่จะเกิดในปี 2565

ปี 2565 นับเป็นปีที่สามในการเผชิญกับภัยพิบัติด้านสุขภาพทั่วโลก ซึ่งส่งผลกระทบต่อซัพพลายเชนอย่างที่ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อน  ผลกระทบรุนแรงจากความไม่สมดุลระหว่างอุปทานและอุปสงค์กำลังเกิดขึ้นทั่วโลก  ประเด็นของความไม่แน่นอนและความกังวลที่เกิดขึ้นในปีนี้ จะยังคงเกี่ยวกับปัญหาด้านความพร้อมของแรงงานและต้นทุนที่เพิ่มสูงขึ้น พื้นที่สำหรับโหลดสินค้า เซมิคอนดักเตอร์ ความพร้อมใช้งานของรถพ่วงสำหรับลากตู้คอนเทนเนอร์ ตลอดจนพื้นที่จัดเก็บของคลังสินค้า

การ์ทเนอร์แนะ 3 เรื่องด่วน ซีไอโอเร่งจัดการเพื่อรับมือสถานการณ์ไวรัส COVID-19

ต้องมีแผนและการเตรียมตัวที่ครอบคลุมการดำเนินธุรกิจทั้งหมดและพร้อมนำมาใช้ทันที กรุงเทพฯ ประเทศไทย 11 มีนาคม 2563 – จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า (COVID-19) การ์ทเนอร์แนะผู้บริหารด้านสารสนเทศ หรือ ซีไอโอควรมุ่งเน้นความสำคัญกับแผนการดำเนินงานระยะสั้น 3 ประการ เพื่อเพิ่มความยืดหยุ่นในการดำเนินธุรกิจรับมือกับผลกระทบต่าง

การ์ทเนอร์เผยไวรัส COVID-19 ส่งผลกระทบสำคัญต่อซัพพลายเชน แนะธุรกิจเร่งทำแผนรับมือครบทั้ง 3 ระยะ

จากการที่โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาระบาด และแพร่กระจายอย่างรวดเร็วยิ่งกว่าการระบาดโรคซาร์สในปี 2546 ผู้จัดการด้านซัพพลายเชนจะต้องชะลอการปรับตัว และวางแผนรับมือกับเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

Logistics: What is warehouse technology? รู้จักเทคโนโลยีคลังสินค้า (2)

มาทำความรู้จักคลังสินค้าอีกสองแบบก็คือ คลังสินค้าแบบจัดซื้อ-จัดจ้าง (Procurement Warehouse) และ คลังสินค้าที่เป็นจุดเปลี่ยนถ่ายวิธีการขนส่ง หรือ Trans-shipment Warehouse

Logistics: What is warehouse technology? รู้จักเทคโนโลยีคลังสินค้า (1)

บทความนี้จาก ETMM ตั้งใจให้ข้อมูลที่สำคัญที่สุดเกี่ยวกับเทคโนโลยีคลังสินค้า รวมถึงให้ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับสาขาต่างๆ ทั้ง ประเภทของคลังสินค้าและพื้นที่ของแอพพลิเคชันอีกคณานับ!

Digital Supply Chain: Desca คืออะไรในโลจิสติกส์ 4.0

การรวมข้อมูลอัจฉริยะ (Smart data integration) คือกุญแจสำคัญในการเพิ่มประสิทธิภาพและการบริการลูกค้า แวดวงโลจิสติกส์มักจะมีคำศัพท์ใหม่ๆ ของกระบวนการใหม่ๆ มาให้เราได้ฉงนและต้องทำความรู้จักเสมอ Thyssenkrupp Materials Services ใช้โครงสร้างพื้นฐานด้านไอทีที่มีความยืดหยุ่นเพื่อการจัดการที่ชาญฉลาดและคล่องตัวของกระบวนการทั้งหมดของบริษัทในห่วงโซ่อุปทาน Desca ตัวย่อของกระบวนการชื่อยาวเหยียด Digital