หุ่นยนต์อุตสาหกรรม

ไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญก็ทำได้ ‘Fuzzy Studio’ ซอฟต์แวร์ควบคุมหุ่นยนต์ที่ไม่ต้องเขียนโค้ด 

โดยปกติการควบคุมหุ่นยนต์หรือระบบ CNC จะต้องให้ผู้เชี่ยวชาญด้าน Robotics เขียนโค้ดเพื่อสั่งงานให้หุ่นยนต์เคลื่อนที่ ก่อนนั้นงานประเภทนี้ต้องใช้บุคลากรที่มีทักษะและความชำนาญขั้นสูง แต่ในปัจจุบันเริ่มมีแพลตฟอร์ม No Code หรือ Low Code เข้ามา ทำให้ใช้งานได้ง่ายและบุคคลทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ โดยใช้

ABB เปิดตัว ‘Swifti CRB 1300’ โคบอทอุตสาหกรรม ความเร็วสูง แม่นยำ และปลอดภัย

กระแสค่าแรงเพิ่มขึ้นเป็น 600 บาท ทำให้ผู้ผลิตต้องปรับตัวโดยการหาทางลดแรงงานลง ใช้เท่าที่จำเป็น และลงทุนเพิ่มในระบบอัตโนมัติจุดที่สามารถทำได้ หุ่นยนต์ Cobot สามารถทำงานร่วมกับมนุษย์ได้ เช่น พนักงานผลิตนำวัตถุดิบมาวางให้หุ่นยนต์หยิบเข้าเครื่องจักรอัตโนมัติ หุ่นยนต์มีเซนเซอร์ที่จะเคลื่อนไหวช้าลงหรือหยุดไปเลย หากมีมนุษย์อยู่ใกล้ ๆ เป็นการป้องกันความปลอดภัย

หุ่นยนต์เคลื่อนที่กับการทำงานโดยอัตโนมัติ

แรงกดดันเงินเฟ้อทำให้มีการเรียกร้องค่าแรงที่แพงขึ้น ในประเทศไทยก็มีกระแสเรื่องค่าแรง 600 บาท ซึ่งเป็นแรงกดดันผู้ประกอบการให้คิดหาทางลดภาระในส่วนนี้ การใช้ระบบอัตโนมัติเป็นทางเลือกของผู้ประกอบการในการลดภาระค่าใช้จ่ายแรงงาน ล่าสุดมีการคิดค้นโมบายเซลล์ นั่นคือการผสานรวมรถลำเลียง AGV ซึ่งมีขนาดใหญ่เข้ากับหุ่นยนต์ที่ใช้ในการหยิบชิ้นงานเข้าออก และสามารถวิ่งไปมาเพื่อลำเลียงชิ้นงานได้ เหมือนเป็นคนงานหนึ่งคน

SuperSource: KUKA KR 4 AGILUS หุ่นยนต์อุตสาหกรรมขนาดกะทัดรัด

หลายคนอาจจะรู้จัก KUKA ในฐานะแบรนด์หุ่นยนต์อุตสาหกรรมไฮเอนด์จากเยอรมนีที่อัดแน่นด้วยนวัตกรรมต่าง ๆ มากมาย มีทั้งขนาดเล็กขนาดใหญ่หลากหลายรูปแบบ และหุ่น KR 4 AGILUS จาก KUKA ในวันนี้นั้นเรียกได้ว่าเหมาะสำหรับโรงงานที่มีพื้นที่จำกัดอย่างมาก

โซลูชันระบบอัตโนมัติและอุตสาหกรรม 4.0 จากไต้หวันเป็นตัวเลือกที่ดีที่สุด ในการยกระดับอุตสาหกรรมของประเทศไทย

งานสัมมนาออนไลน์ ‘Taiwan Excellence Smart Machine Tools and Precision Components Webinar’ จัดขึ้นเมื่อวันที่ 23 มิถุนายน 2564 โดย

ออนโรบอตเปิดตัวมือจับสุญญากาศระบบไฟฟ้าทรงพลังที่สุดของโลก

เปิดตัว VGP20 มือจับสุญญากาศระบบไฟฟ้ารุ่นใหม่มอบประสิทธิภาพอันทรงพลังและการทำงานแบบอเนกประสงค์ พร้อมรับมือการจัดวางสินค้าน้ำหนักมาก ขนาดใหญ่และเป็นพื้นผิวรูพรุนขึ้นบนแท่นสินค้า

การผลิตในบรรทัดฐานใหม่ – ข้อดีและผลประโยชน์

การเว้นระยะห่าง ปกป้องพนักงานจากภัยโรคติดต่อ เริ่มกระบวนการผลิตและเครื่องจักรใหม่อีกครั้ง ไปจนถึงติดตามช่องว่างในห่วงโซ่ที่หายไปจากบรรดาซัพพลายเชน ทั้งหมดนี้คือสิ่งที่องค์กรหรือบริษัทต่างๆ ต้องขบคิด แก้ไข และดำเนินการไปอย่างรัดกุมเพื่อให้องค์กรสามารถขับเคลื่อนต่อไปข้างหน้าได้อย่างไม่สะดุด

กลยุทธ์การใช้งานระบบอัตโนมัติ-หุ่นยนต์ให้เวิร์คอย่างเห็นผล

เทคโนโลยีที่มีราคาถูกลง มีความสามารถและมีความยืดหยุ่นมากขึ้น กำลังเป็นตัวเร่งการเติบโตของโรงงานที่ผลิตด้วยระบบอัตโนมัติเต็มรูปแบบ ความท้าทายที่สำคัญสำหรับบริษัทต่าง ๆ ก็คือการตัดสินใจว่าจะเลือกใช้วิธีใด ด้วยข้อมูลชุดใด

การนำเทคโนโลยีหุ่นยนต์มาใช้เพื่อกระตุ้นความก้าวหน้าในอุตสาหกรรมระบบอัตโนมัติ

แม้รถยนต์ที่ขับเคลื่อนด้วยตัวเองและยานยนต์พลังไฟฟ้าเทสลาของอีลอน มัสก์ จะกลายเป็นพาดหัวข่าวไปทั่ว แต่การใช้งานระบบอัตโนมัติในโรงงานอุตาหกรรมที่เพิ่มขึ้นกลับมีคนพูดถึงน้อยมาก บางครั้งอาจเป็นเพราะเทคโนโลยีหุ่นยนต์ได้สั่นสะเทือนวงการอุตสาหกรรมมาแล้วตั้งแต่ ปี ค.ศ.1961 เมื่อเจเนรัลมอเตอร์เป็นผู้นำเทคโนโลยีนี้มาใช้เป็นครั้งแรก