AM

ความร่วมมือเพื่อสร้างมาตรฐานเวิร์กโฟลว์ให้กับการผลิตแบบเติมเนื้อวัสดุ (AM)

Sigma Labs ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ได้ลงนามร่วมมือกับบริษัท AMFG ผู้ให้บริการซอฟต์แวร์ระบบดำเนินการผลิต (MES) สำหรับการผลิตแบบเพิ่มเนื้อวัสดุ (AM) ทั้งคู่มีเป้าหมายเดียวกันคือ การขยายขอบเขตของโซลูชัน และจัดหาโซลูชัน AM ที่สามารถปรับให้เหมาะสมสำหรับความต้องการของตลาด 

Materialize และ Sigma Labs ร่วมมือพัฒนาเทคโนโลยีสุดล้ำสำหรับ AM โลหะ

Sigma Labs และ Materialize บริษัทผู้ให้บริการด้านเครื่องพิมพ์ 3 มิติ ได้ร่วมกันพัฒนาเทคโนโลยีระดับสูงเพื่อเพิ่มความสามารถในการปรับขนาด หรือ scalability ของแอปพลิเคชัน AM โลหะ – Metal

ลดรอบเวลา Mould Tools ด้วยการพิมพ์ 3 มิติที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

เทคนิคการพิมพ์โลหะ 3 มิติแบบใหม่ จาก Agemaspark ซึ่งเป็นบริษัทที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมความแม่นยำในเมือง Doncaster ประเทศอังกฤษ หลังใช้เวลาหลายปีในการพัฒนาและทดลองเทคโนโลยีใหม่นี้ ซึ่งช่วยลดรอบเวลาการทำงานของ Mould tool แบบหลายชั้น ซึ่งจะช่วยลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมทั้งของบริษัทและของลูกค้า 

ระบบอัตโนมัติและการปรับกระบวนการทำงานให้เป็นดิจิทัล ทำให้การผลิตแบบเติมวัสดุสามารถทำเป็นอุตสาหกรรมได้อย่างไร

การจำลองและฝาแฝดดิจิทัลที่ถูกพัฒนาโดย Siemens ทำให้สตาร์ทอัพ You Mawo สามารถให้กรอบแว่นตาตามที่ลูกค้าสั่งในลักษณะที่เข้าถึงได้ ราคาไม่แพงและยั่งยืนสำหรับตลาดกว้าง กระบวนการปรับแต่งพิจารณาพารามิเตอร์อย่างเช่น การออกแบบ การลงตัวพอดีสำหรับบุคคลที่สวมแว่นและสี

จากการผลิตตามความต้องการ (ODM) ของ 3D Systems สู่ Quickparts

สหรัฐอเมริกา – จากจุดเริ่มต้นที่เป็นเพียงแผนกธุรกิจที่เรียกว่า On Demand Manufacturing หรือ การผลิตตามความต้องการของ 3D Systems ปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็นบริษัทอิสระที่รู้จักกันในชื่อ Quickparts โดยได้มีขายธุรกิจ On Demand Manufacturing ให้กับ Trilantic ซึ่งเป็นบริษัทหุ้นนอกตลาดของสหัฐอเมริกา เมื่อต้นเดือนกันยายน 2021ที่ผ่านมา 

12 นวัตกรรม AM ที่คุณไม่ควรพลาดในงาน Formnext 2021

เยอรมนี – Formnext งานแสดงสินค้าระหว่างประเทศ อีเวนท์สำคัญระดับโลกสำหรับเทคโนโลยีการผลิตแบบเพิ่มเนื้อวัสดุ ( AM) และการพิมพ์ 3 มิติระดับอุตสาหกรรมพร้อมจัดแล้วในปีนี้ ด้วยนวัตกรรมใหม่ๆ ที่พร้อมต้อนรับผู้แสดงสินค้าจากทั่วโลก หลังผ่านปัญหาวิกฤตโควิด-19 ในยุโรป โดยปีนี้งานจะจัดขึ้นที่นครแฟรงก์เฟิร์ต ประเทศเยอรมนี 

Desktop Metal ประเดิมวางไทเทเนียมสู่ตลาดการพิมพ์ 3D ด้วยเทคนิคยึดติดโลหะแบบ Bound Metal

สหรัฐอเมริกา — ไทเทเนียมเป็นวัสดุที่ขึ้นรูปได้ยากสำหรับการพิมพ์ 3 มิติแบบ Bound Metal หรือเทคนิคการยึดติดโลหะ เนื่องจากมีปฏิกิริยาสูงทั้งในรูปผงโลหะและการเผาผนึก (Sinter) ด้วยการพัฒนาของนวัตกรรมใหม่ๆอย่างไม่หยุดนิ่ง ตอนนี้บริษัท Desktop Metal บริษัทออกแบบด้านเทคโนโลยีการพิมพ์สามมิติจากสหรัฐอเมริกา

AM – ระบบเชื่อมด้วยเลเซอร์ที่รองรับทั้งลวดและผงวัสดุ

สหราชอาณาจักร — ด้วยเทคโนโลยีที่จดสิทธิบัตรแล้ว ล่าสุดเราสามารถเชื่อมพอกด้วยเลเซอร์กับวัสดุตั้งต้นทั้งสองประเภทได้คือ ลวดและผง – wire and powder ด้วย Chirion AM Cube 3D ที่ตอนนี้มีใช้งานอยู่ที่

โฟล์คสวาเกนกำลังใช้การพิมพ์สามมิติมากขึ้น : จำนวนชิ้นส่วนมากถึงแสนชิ้นที่จะผลิตภายในปี 2025

ประเทศเยอรมนี — การพิมพ์สามมิติกำลังได้รับความสำคัญเช่นกันในการผลิตรถยนต์ โดยปัจจุบัน บ.โฟล์คสวาเกน ร่วมกันกับ บ.ซีเมนส์และ ฮิวเลตต์-แพคการ์ด กำลังทดสอบกระบวนการใหม่ที่คาดหวังว่าจะนำมาซึ่งความได้เปรียบด้านน้ำหนักอย่างมีนัยสำคัญ นอกเหนือจากสิ่งอื่น ๆ ภายในปี 2025 จำนวนชิ้นส่วนโฟล์คสวาเกนมากถึงแสนชิ้นที่จะผลิตโดยใช้การพิมพ์สามมิติ ผู้ผลิตรายนี้ประกาศว่าส่วนประกอบแรก

โซลูชันการพิมพ์ 3 มิติล่าสุด สำหรับผู้ผลิตเครื่องมือและแม่พิมพ์ (4)

Wayland ประกาศขายระบบการผลิตแบบเติมเนื้อวัสดุโลหะรุ่น Calibur3 เป็นครั้งแรก นับตั้งแต่งานเปิดตัวแบบเสมือนจริงที่จัดขึ้นเมื่อเดือนมีนาคมเป็นต้นมา Wayland ก็ได้รับความสนใจอย่างมากจากภาคส่วนอุตสาหกรรมต่าง ๆ โดยเฉพาะเครื่องพิมพ์รุ่น Calibur3 โดยนายปีเตอร์ แฮนส์ฟอร์ด ผู้อำนวนการฝ่ายพัฒนาธุรกิจ บริษัท  Wayland