Circular Economy

Why Circular: กรุงเทพฯ ในยุคเศรษฐกิจหมุนเวียน

จากความเป็นเมืองสู่ Waste มากมายมหาศาลที่ต้องจัดการแบบยั่งยืน Urbanization ความเป็นเมือง หรือ การขยายตัวของสังคมเมือง เป็นหนึ่งใน “เมกะเทรนด์” สำคัญของโลก เกิดจากการรวมตัวของผู้คนจำนวนมากจนกลายเป็นชุมชนเมืองขนาดใหญ่ อาจเกิดจากการกระจายความเจริญของเมือง จากเมืองศูนย์กลางออกไปยังเมืองอื่นๆ ซึ่งได้เข้ามาเปลี่ยนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน ตลอดจนรูปแบบและการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างสิ้นเชิง ความเป็นเมืองรอบโลก:

Tools Life: ฟินแลนด์สร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนอย่างไร

เก็บตกจากงาน Asean Sustainable Energy Week หรือ ASE 2019 ที่ไบเทคบางนาเมื่อสัปดาห์ก่อน Toolmakers ได้มีโอกาสเข้าร่วมในวงเสวนาด้านพลังงานโดยมีสถานทูตฟินแลนด์ประจำประเทศไทยเป็นผู้ร่วมจัดในหัวข้อ “Finland towards the Circular

แบรนด์ดังผนึกกำลังยกระดับการรีไซเคิล PET ด้วยเทคโนโลยีชีวภาพครั้งแรกของโลก

ภายใต้แนวโน้มเศรษฐกิจหมุนเวียน หรือ circular economy และการนำของประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำโดยเฉพาะทางฟากยุโรป เราจะได้รับทราบข่าว ทั้งการรณรงค์ การผลักดันในระดับนโยบายเกี่ยวกับเรื่องนี้อยู่บ่อยครั้ง ส่วนหนึ่งมันไม่ใช่แค่เทรนด์แต่คือทางรอดทางหนึ่งของมนุษยชาติ มันคือเรื่องของการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างชาญฉลาด ในขณะที่เทคโนโลยีอันชาญฉลาดด้านอื่นๆ ก้าวล้ำไปไกลเกินกว่าจะย้อนคืน

พลังงานจากเส้นอุด้ง

ปัญหาที่เกิดขึ้นกับประเทศที่เจริญแล้วอย่างญี่ปุ่นซึ่งเต็มไปด้วยวัตถุเทคโนโลยี สิ่งประดิษฐ์และนวัตกรรมมากมายที่มาช่วยแก้ปัญหายากๆ มากมายให้กับมนุษย์จนมีชีวิตแสนสะดวกสบายทุกวันนี้ กลับเป็นปัญหาง่ายๆ คือ “การทิ้งอาหาร” ซึ่งองค์การอาหารและการเกษตรแห่งสหประชาชาติหรือ FAO ระบุว่า แต่ละปีแดนปลาดิบมีอาหารเหลือทิ้งถึง 20 ล้านตันต่อวัน!!  และเพียงแค่โตเกียวเมืองเดียวก็มีขยะเหลือทิ้งถึง 6,000 ตันต่อวัน

เทรนด์วัสดุทดแทน (Circular Supplies) กับงานออกแบบ

วัสดุทดแทน (Circular Supplies) ช่วยขับเคลื่อนธุรกิจสู่เศรษฐกิจหมุนเวียน  (Circular Economy) และกำลังสั่นสะเทือนตลาดวัสดุทั่วโลก ด้วยการนำเทคโนโลยีด้านโครงสร้างทางชีวภาพ (Biological Technologies) เช่น Bio-Energy หรือ Bio-Based Materials

ทำไมต้อง CIRCULAR ECONOMY ทางรอดของมนุษย์ในยุค ANTHROPOCENE (ตอนจบ)

นวัตกรรมจากธรรมชาติ “โลกที่ยั่งยืนนั้นมีอยู่แล้ว…แค่เรามองเข้าไปในธรรมชาติ”  คือคำยืนยันของ เจนีน เบนยัส (Janine Benyus) ผู้เขียนหนังสือ ชีวลอกเลียน: นวัตกรรมบันดาลใจจากธรรมชาติ (Biomimicry: Innovation Inspired by Nature)

ทำไมต้อง Circular Economy ทางรอดของมนุษย์ในยุค Anthropocene (ตอนที่ 1)

ข่าวสำคัญมากๆ เมื่อต้นเดือนตุลาคมที่ผ่านมา คือคำเตือนครั้งสุดท้ายของนักวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศของโลก โดยสรุปก็คือ รายงานล่าสุดจากคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) ชี้ชัดว่าถ้ามนุษย์จะรักษาโลกนี้เอาไว้ได้ ทุกฝ่ายทุกประเทศต้องลงมือปฏิวัติรูปแบบเศรษฐกิจ การผลิตและการบริโภคตั้งแต่เดี๋ยวนี้ และเรามีเวลาอีกไม่เกิน 12 ปีเท่านั้น ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ได้อย่างน้อยครึ่งหนึ่ง โดยเปลี่ยนไปใช้พลังงานหมุนเวียนแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล