การพิมพ์สามมิติ

Lehvoss เตรียมนำเสนอวัสดุยั่งยืนสมรรถนะสูงในงาน K 2022

ในปัจจุบัน ความต้องการของวัสดุ นอกจากเรื่องของสมรรถนะที่ต้องตอบโจทย์การใช้งานแล้ว สิ่งที่เป็นปัจจัยที่มีการพิจารณากันมากขึ้น คือ เรื่องของ ความยั่งยืนและ คาร์บอนฟุตพรินท์ ซึ่งเป็นสิ่งที่จะเป็นมาตรการกีดกันทางการค้าในอนาคต เป็นข้อกำหนดที่หลายประเทศจะนำมาใช้ ซึ่งถ้าผลิตภัณฑ์ใดไม่ผ่านเกณฑ์ของคาร์บอนฟุตพรินท์ จะไม่สามารถเข้าไปวางขายในตลาดได้ บทความนี้จะมาเล่าถึงผลิตภัณฑ์วัสดุของบริษัทหนึ่ง ที่ผลิตให้ยั่งยืนยิ่งขึ้น

การผลิตแบบเติมวัสดุ (AM) คืออะไร?

การผลิตแบบเติมวัสดุกำลังมีความสำคัญเพิ่มมากขึ้น โรงหล่อสามารถได้ประโยชน์จากการพิมพ์สามมิติด้วยเช่นกัน โดยอาจนำมาช่วยเสริมหรือทดแทนกระบวนการผลิตแบบเดิมเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดียิ่งขึ้น และประหยัดขึ้น อย่างไรก็ดี การผลิตแบบเติมวัสดุเหมือนกับทุกกระบวนการผลิตซึ่งมีข้อดีและข้อเสีย มีความเหมาะสมสำหรับการใช้งานบางประเภท บทความนี้จะมาทำความรู้จัก ว่ากระบวนการเติมวัสดุทำงานอย่างไร ข้อดี ข้อเสีย และเหมาะสมที่จะใช้งานประเภทไหน?

ระบบวัสดุแบบเปิด vs แบบปิด: การแบ่งขั้วที่มีอิทธิพลต่อตลาดวัสดุการพิมพ์ 3 มิติ

อะไรคือแนวโน้มใหญ่ที่สุดที่กำลังส่งผลกระทบต่อตลาดวัสดุสำหรับการผลิตแบบเติมวัสดุ? มีหลายปัจจัยที่ส่งอิทธิพลในการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมวัสดุการพิมพ์สามมิติ ซึ่ง ID Tech Ex คาดการณ์ว่าจะเพิ่มด้วยอัตราการเติบโตเฉลี่ยสะสมต่อปีที่ 18.6 เปอร์เซ็นต์ตลอดทศวรรษหน้า และไปแตะที่ 29.5 พันล้านดอลล่าร์ในปี 2032

เทคโนโลยีการทำหลังการผลิตช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการพิมพ์ 3 มิติ

เพื่อปรับปรุงให้การทำหลังกระบวนการมีประสิทธิภาพมากขึ้น Prototec บริษัทที่มีความเชี่ยวชาญในการพิมพ์สามมิติ ได้ซื้อระบบ S1 ใหม่จาก AM Solutions ผู้จัดการทั่วไปมีความประทับใจในความยืดหยุ่นเชิงปฏิบัติการและสมรรถนะในการทำความสะอาดที่ยอดเยี่ยมของเครื่องนี้ 

วัสดุการพิมพ์ 3 มิติ มีโอกาสเติบโต 29.5 พันล้านดอลล่าร์ ในปี 2032

ศักยภาพการเติบโตของวัสดุในการผลิตแบบเติมวัสดุแตกต่างจากอุปกรณ์การพิมพ์ เนื่องจากเครื่องพิมพ์เก่าใช้วัสดุอยู่ ดังนั้นส่วนของห่วงโซ่คุณค่าการพิมพ์สามมิตินี้มีโอกาสที่ยิ่งใหญ่: ID Tech Ex พยากรณ์ว่าตลาดวัสดุการพิมพ์สามมิติโลกจะมีมูลค่า 29.5 พันล้านดอลล่าร์ในปี 2032

โฟโต้โพลิเมอร์เรซิ่น ยืดหยุ่นได้ สำหรับการผลิตชิ้นส่วนโฟม

ด้วย Freefoam, Desktop Metal ต้องการที่จะปรับเปลี่ยนการผลิตผลิตภัณฑ์โฟม โฟโต้โพลิเมอร์เรซิ่นเป็นวัสดุตระกูลใหม่ ที่สามารถผลิตชิ้นส่วนโฟมเซลล์ปิดที่มีความถูกต้องแม่นยำตามขนาดและมีความทนทาน โดยไม่ต้องใช้เครื่องมือ

PepsiCo ค้นพบนวัตกรรมทางเลือกใหม่ แทนที่เครื่องมือโลหะสุดแพง

ความเร็วในการออกสู่ตลาดไม่เคยมีความสำคัญมากนักในภาคสินค้าอุปโภคบริโภค เนื่องจากเจ้าของแบรนด์ตั้งเป้าที่จะพัฒนาการออกแบบขวดและบรรจุภัณฑ์ใหม่เพื่อตอบสนองความต้องการของลูกค้าที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา แต่การสร้างเครื่องมือโลหะแบบธรรมดาทั่วไปสำหรับการเป่าขึ้นรูปขวดเป็นสิ่งที่มีราคาแพงและใช้เวลานาน นั่นคือเหตุผลที่ Pepsico กำลังมองหาทางเลือกอื่น

Formnext Start-up Challenge: แนวคิดสปริงบอร์ด เพื่อธุรกิจ AM ที่สร้างสรรค์

เยอรมนี – ในทุกๆปีจะมีบริษัทใหม่เกิดขึ้นมากมายในอุตสาหกรรมการผลิตแบบเพิ่มเนื้อวัสดุ (Additive Manufacturing, AM) เพื่อให้สตาร์ทอัพใหม่ๆ เป็นที่รู้จักและได้รับการยอมรับมากขึ้น จึงได้มีเวที Formnext Start-up Challenge เกิดขึ้น ซึ่งครั้งนี้ก็นับเป็นครั้งที่ 8

ชิ้นส่วนความละเอียดสูงเพื่อการผลิตเชิงอุตสาหกรรม

ประเทศอิสราเอล – Azoth ผู้เชี่ยวชาญการผลิตแบบเติมวัสดุ ได้รับเอาระบบการผลิตโลหะแบบเติมวัสดุ Carmel 1400M เครื่องแรกของ XJet — ระบบพ่นวัสดุโลหะและเซรามิคเครื่องแรกในโลก ที่ให้ชิ้นส่วนที่มีคุณภาพ มีความสามารถทำซ้ำได้ และเหมาะสมสำหรับการผลิตเชิงอุตสาหกรรม ซึ่งเป็นเหตุผลหลักที่

ความร่วมมือเพื่อสร้างมาตรฐานเวิร์กโฟลว์ให้กับการผลิตแบบเติมเนื้อวัสดุ (AM)

Sigma Labs ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ได้ลงนามร่วมมือกับบริษัท AMFG ผู้ให้บริการซอฟต์แวร์ระบบดำเนินการผลิต (MES) สำหรับการผลิตแบบเพิ่มเนื้อวัสดุ (AM) ทั้งคู่มีเป้าหมายเดียวกันคือ การขยายขอบเขตของโซลูชัน และจัดหาโซลูชัน AM ที่สามารถปรับให้เหมาะสมสำหรับความต้องการของตลาด