การผลิตแบบเติมเนื้อวัสดุ

Blue Laser ในเครื่องผลิตแบบเติมวัสดุสำหรับวัสดุสะท้อนแสง

ในงานแสดงสินค้านานาชาติ Formnext 2022 บริษัท DMG Mori จะนำเสนอเครื่อง Lasertec 65 DED Hybrid 5 แกน เครื่องพิมพ์โลหะสามมิติกระบวนการ Directed

การพิมพ์ 3 มิติช่วยเร่งความเร็วในการพัฒนารถแข่งฟอร์มูล่าวันของแมคลาเรน

ในปัจจุบันการพิมพ์สามมิติ มีการใช้อย่างแพร่หลายมากขึ้น โดยมักใช้ในการทำตัวอย่าง (Prototype) อย่างไรก็ดี การพิมพ์ 3 มิติได้ถูกนำมาใช้เพื่อผลิตชิ้นส่วนที่ใช้งานจริงได้เช่นกัน ในบทความนี้แสดงตัวอย่างของแมคลาเรนเรซซิ่ง

รีไซเคิลผงโลหะการพิมพ์ 3 มิติ เพื่อใช้วัสดุอย่างคุ้มค่า เพิ่มความยั่งยืน 

6K Additive ประกาศข้อตกลงความร่วมมือเชิงยุทธศาสตร์ในการจัดหาผงโลหะสำหรับการผลิตแบบเติมวัสดุ และการรีไซเคิล ร่วมกับบริษัท Incodema3D ที่ตั้งอยู่ในฟรีวิลล์ นิวยอร์ค ที่แสวงหาหนทางประกันการจัดหาผงโลหะในท้องถิ่นที่ผ่านมาตรฐานคุณภาพที่เข้มงวดสำหรับการผลิตแบบเติมวัสดุ พร้อมโซลูชั่นในการรีไซเคิลผงโลหะและชิ้นส่วนหรือที่ใช้แล้ว หมุนเวียนผลิตกลับมาเป็นผงโลหะใหม่ เพื่อให้ใช้วัสดุอย่างคุ้มค่า ประหยัดต้นทุนและเพิ่มความยั่งยืน

ทังสเตนใช้เป็นวัสดุการพิมพ์ 3 มิติได้แล้ว

นักวิจัยที่สถาบันเทคโนโลยี Karlsruhe (KIT) ได้ประสบความสำเร็จในการพิมพ์ทังสเตน (wolfram) ด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติเชิงพาณิชย์

หลายภาคอุตสาหกรรม ร่วมมือผลักดันการพิมพ์ 3 มิติด้วยอะลูมิเนียม

การพิมพ์สามมิติ ได้ผ่านการพิสูจน์แล้วว่ามีความเหมาะสมสำหรับการผลิตชิ้นส่วนแบบกำหนดเองที่มีความซับซ้อน และการผลิตชุดเล็ก อย่างไรก็ตาม ในการผลิตชุดใหญ่จำเป็นต้องใช้การพิมพ์สามมิติเชิงอุตสาหกรรม ซึ่งบรรดาผู้เชี่ยวชาญมองว่าอะลูมิเนียมมีความเหมาะสมโดยเฉพาะสำหรับวัตถุประสงค์นี้

Lehvoss เตรียมนำเสนอวัสดุยั่งยืนสมรรถนะสูงในงาน K 2022

ในปัจจุบัน ความต้องการของวัสดุ นอกจากเรื่องของสมรรถนะที่ต้องตอบโจทย์การใช้งานแล้ว สิ่งที่เป็นปัจจัยที่มีการพิจารณากันมากขึ้น คือ เรื่องของ ความยั่งยืนและ คาร์บอนฟุตพรินท์ ซึ่งเป็นสิ่งที่จะเป็นมาตรการกีดกันทางการค้าในอนาคต เป็นข้อกำหนดที่หลายประเทศจะนำมาใช้ ซึ่งถ้าผลิตภัณฑ์ใดไม่ผ่านเกณฑ์ของคาร์บอนฟุตพรินท์ จะไม่สามารถเข้าไปวางขายในตลาดได้ บทความนี้จะมาเล่าถึงผลิตภัณฑ์วัสดุของบริษัทหนึ่ง ที่ผลิตให้ยั่งยืนยิ่งขึ้น

การผลิตแบบเติมวัสดุ (AM) คืออะไร?

การผลิตแบบเติมวัสดุกำลังมีความสำคัญเพิ่มมากขึ้น โรงหล่อสามารถได้ประโยชน์จากการพิมพ์สามมิติด้วยเช่นกัน โดยอาจนำมาช่วยเสริมหรือทดแทนกระบวนการผลิตแบบเดิมเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดียิ่งขึ้น และประหยัดขึ้น อย่างไรก็ดี การผลิตแบบเติมวัสดุเหมือนกับทุกกระบวนการผลิตซึ่งมีข้อดีและข้อเสีย มีความเหมาะสมสำหรับการใช้งานบางประเภท บทความนี้จะมาทำความรู้จัก ว่ากระบวนการเติมวัสดุทำงานอย่างไร ข้อดี ข้อเสีย และเหมาะสมที่จะใช้งานประเภทไหน?

ระบบวัสดุแบบเปิด vs แบบปิด: การแบ่งขั้วที่มีอิทธิพลต่อตลาดวัสดุการพิมพ์ 3 มิติ

อะไรคือแนวโน้มใหญ่ที่สุดที่กำลังส่งผลกระทบต่อตลาดวัสดุสำหรับการผลิตแบบเติมวัสดุ? มีหลายปัจจัยที่ส่งอิทธิพลในการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมวัสดุการพิมพ์สามมิติ ซึ่ง ID Tech Ex คาดการณ์ว่าจะเพิ่มด้วยอัตราการเติบโตเฉลี่ยสะสมต่อปีที่ 18.6 เปอร์เซ็นต์ตลอดทศวรรษหน้า และไปแตะที่ 29.5 พันล้านดอลล่าร์ในปี 2032

Filtration: ความสำคัญของเครื่องกรองในการพิมพ์ 3 มิติ

การพิมพ์ 3 มิติตั้งแต่การผลิตเฟซชิลด์ทางการแพทย์ไปจนถึงส่วนประกอบสำหรับยานอวกาศ มีชุดข้อมูลแบบใหม่ๆ ออกมาให้เราทำความเข้าใจอยู่เรื่อยๆ แต่ข้อมูลเชิงลึกในอุตสาหกรรมเกี่ยวกับเศษฝุ่นละอองตกค้างจากกระบวนการผลิตแบบเพิ่มเนื้อวัสดุ หรือ AM นั้นยังมีค่อนข้างน้อย หรือแทบไม่มีเลย

ความร่วมมือเพื่อสร้างมาตรฐานเวิร์กโฟลว์ให้กับการผลิตแบบเติมเนื้อวัสดุ (AM)

Sigma Labs ผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ได้ลงนามร่วมมือกับบริษัท AMFG ผู้ให้บริการซอฟต์แวร์ระบบดำเนินการผลิต (MES) สำหรับการผลิตแบบเพิ่มเนื้อวัสดุ (AM) ทั้งคู่มีเป้าหมายเดียวกันคือ การขยายขอบเขตของโซลูชัน และจัดหาโซลูชัน AM ที่สามารถปรับให้เหมาะสมสำหรับความต้องการของตลาด