พลาสติก

ตลาดยุโรปเตรียมพร้อมสำหรับการเติบโตครั้งใหญ่ของพลาสติกชีวภาพ

ในปัจจุบันเป็นที่ทราบกันถึงดีถึงความจำเป็นในการลดการปล่อยคาร์บอนสู่สภาพอากาศ ผู้ผลิตต้องหาหนทางในการลดคาร์บอนด้วยมาตรการต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการลงทุนเครื่องจักรใหม่ที่มีประสิทธิภาพ มีคาร์บอนฟุตพรินต์ที่ต่ำ การใช้พลังงานหมุนเวียนแทนฟอสซิล ตลอดจนการใช้วัสดุรีไซเคิลที่มีคาร์บอนฟุตพรินต์ต่ำกว่าวัสดุใหม่

Lehvoss นำเสนอความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีพอลิเมอร์ที่ผสานประสิทธิภาพและความยั่งยืน

ในปัจจุบันมีการใช้งานพลาสติกให้คุ้มค่ามากขึ้น ตลอดจนนำกลับมารีไซเคิลเพื่อใช้ใหม่ให้ได้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ บริษัทต่าง ๆ พยายามคิดค้นนวัตกรรมที่ช่วยให้พลาสติกมีประสิทธิภาพดีขึ้น ไปจนถึงการใช้มาสเตอร์แบทช์สำหรับเติมแต่งลงในพอลิเมอร์เพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งให้ผลิตภัณฑ์มีน้ำหนักเบา อีกทั้งยังลดการใช้พลังงานตลอดอายุการใช้งาน และลดการปล่อยคาร์บอนสู่ชั้นบรรยากาศ 

Husky คว้ารางวัลนวัตกรรมพลาสติกชีวภาพจากสมาคมอุตสาหกรรมพลาสติก

พลาสติกเป็นวัสดุที่มีความคงทน ใช้งานได้ยาวนาน อย่างถุงพลาสติกก็สามารถใช้ซ้ำได้เป็นร้อยครั้ง แทนที่จะใช้ถุงร้อยใบแค่ครั้งเดียว แต่พฤติกรรมของผู้บริโภคที่ใช้แล้วทิ้งทันทีนั้นทำให้เกิดไมโครพลาสติกที่ปนเปื้อนกระจายไปในสิ่งแวดล้อมในห่วงโซ่อาหารในทะเลและสุดท้ายก็ส่งผลกระทบกลับมาที่มนุษย์ 

Fakuma 2023 ปีนี้มุ่งเสนอ Digitalisation และ Automation บนแนวคิดความยั่งยืน

มหกรรมงานแสดงสินค้านานาชาติ Fakuma ครั้งที่ 28 เป็นงานแสดงสินค้าด้านการแปรรูปอุตสาหกรรมพลาสติก จะจัดขึ้นระหว่างวันที่ 17 – 21 ตุลาคม 2023 ที่เมือง Friedrichshafen ประเทศเยอรมนี 

Hot Runner เพื่อความยั่งยืน รองรับพลาสติกรีไซเคิลและชีวภาพ จาก Oerlikon HRS Flow

เป้าหมายการลดการปล่อยคาร์บอนฟุตพรินต์ลง 45% เมื่อเทียบกับปี 2010 ภายในปี 2030 และการปล่อยคาร์บอนสุทธิเป็นศูนย์ภายในปี 2050 เป็นสิ่งที่ทุกธุรกิจกำลังพยายามไปให้ถึง การเลือกลงทุนเครื่องมือเครื่องจักรและอุปกรณ์ที่สามารถรองรับความต้องการเหล่านี้ได้เป็นสิ่งสำคัญเพื่อไปสู่เป้าหมายดังกล่าว 

Covestro นำร่องรีไซเคิลโพลีคาร์บอเนตทางเคมี เพื่อเศรษฐกิจหมุนเวียน ลดการผลิตใหม่

ข้อดีของพลาสติก คือ มีน้ำหนักเบา และทนทาน สามารถใช้ทดแทนโลหะและไม้ได้เป็นอย่างดี อีกทั้งยังเป็นผลพลอยได้จากการผลิตปิโตรเลียม พลาสติกในความเป็นจริงนั้นสามารถใช้ได้หลายร้อยครั้ง แต่พฤติกรรมผู้บริโภคส่วนใหญ่ใช้เพียงครั้งเดียวแล้วทิ้งออกไปปนเปื้อนกับสิ่งแวดล้อม ในปัจจุบันแนวโน้มเรื่องของความยั่งยืน การลดโลกร้อน ทำให้บริษัทต่าง ๆ มองหาวิธีลดคาร์บอนฟุตพรินต์โดยพยายามรีไซเคิลวัสดุกลับมาให้ได้มากที่สุด ทดแทนการผลิตใหม่ เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

กว่าจะมาเป็นพลาสติกที่ใช้ในวิศวกรรมยานยนต์

พลาสติกเป็นวัสดุที่ได้รับความนิยมในวิศวกรรมยานยนต์ด้วยน้ำหนักที่เบาและต้นทุนที่ต่ำ และเมื่อเปรียบเทียบกับโลหะแล้วความแข็งแกร่งก็ต่ำกว่าแต่สามารถชดเชยได้ด้วยการใช้โพลิเมอร์ประสิทธิภาพสูงหรือการรวมพลาสติกเข้ากับไฟเบอร์กลาสหรือคาร์บอนไฟเบอร์ โดยที่ส่วนประกอบต่าง ๆ ผลิตขึ้นด้วยการหล่อฉีดขึ้นรูป

ผู้ผลิตของเล่นร่วมกันหารือในการพัฒนาพลาสติกและของเล่นเพื่อความยั่งยืนในงาน bio!TOY 2023

ในงาน bio!TOY ครั้งที่ 3 เมื่อวันที่ 21-22 มีนาคมที่ผ่านมา มีผู้เข้าร่วมแสดงสินค้ามากกว่า 110 บริษัท จาก 18 ประเทศ จัดขึ้นที่เมือง Nuremberg

โซลูชันสำหรับฝาขวดพลาสติกแบบยึดติดกับขวด รองรับคำสั่งของ EU ภายในปี 2024 

คำสั่ง EU 2019/904 จากสหภาพยุโรปตั้งแต่ปี 2019 แต่เพิ่งเริ่มมีผลบังคับใช้ และภายในปี 2024 ขวดน้ำที่ทำจากพลาสติกต้องผลิตในลักษณะที่ฝาติดอย่างแน่นหนากับตัวขวด ซึ่งแบบเดิมนั้นเปิดแล้วหลุด ทำให้ฝาสูญหายกลายเป็นพลาสติกปนเปื้อนในสิ่งแวดล้อม การทำฝาที่ยึดแน่นหนานั้นทำให้ฝายังคงอยู่กับขวดเมื่อนำไปรีไซเคิล เป็นแนวคิดในการออกแบบที่ส่งผลต่อเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิตแม่พิมพ์ด้วย

โพลีเอสเตอร์ที่ย่อยสลายได้ทางชีวภาพพร้อมคุณสมบัติทัดเทียมโพลีเอธีลีนความหนาแน่นสูง

ทุกท่านคงพอทราบว่าพลาสติกที่เราใช้กันในปัจจุบัน อายุการใช้งานเมื่อเทียบกับระยะเวลาที่ย่อยสลายใช้เวลาหลายร้อยปีนั้นถือว่าสั้นมาก ตัวอย่างเช่น ถุงพลาสติกจากร้านสะดวกซื้อที่หลายคนใช้เพียงครั้งเดียวและทิ้ง ซึ่งอันที่จริงสามารถใช้ได้เป็นหลายสิบหลายร้อยครั้ง พลาสติกแต่เดิมถูกออกแบบมาเพื่อการใช้งานที่ทนทานหลาย ๆ ครั้ง แต่ด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคที่ไปในทางตรงกันข้ามกัน พลาสติกจำนวนมากจึงปนเปื้อนไปในสิ่งแวดล้อม ถึงขั้นมีการกล่าวว่าถ้าในอนาคตอีกหลายร้อยปีถัดจากนี้