เทคโนโลยี

อินฟอร์มาฯ จับมือ TESTA เสริมทักษะ ความรู้ ความแข็งแกร่งด้านเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงาน ในงาน “Energy Storage Asia 2024” ขานรับการเปลี่ยนผ่านสู่พลังงานสะอาด

อินฟอร์มา มาร์เก็ตส์ ประเทศไทย ปักธงเตรียมความพร้อมภาคอุตสาหกรรมไทยร่วมเปลี่ยนผ่านด้านพลังงาน (Energy Transition) จับมือ สมาคมเทคโนโลยีระบบกักเก็บพลังงานไทย (TESTA) จัดการประชุม “International Energy Storage Forum” พร้อมนำผู้เชี่ยวชาญระดับโลก

Trumpf ร่วมมือกับสตาร์ทอัพด้านอวกาศ เพื่อภารกิจอวกาศที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ปัจจุบันมีการแข่งขันด้านอวกาศในกลุ่มประเทศที่มีการเติบโตทางเศรษฐกิจที่รวดเร็ว อันได้แก่ สหรัฐอเมริกา จีน ญี่ปุ่น และอินเดีย ประเทศเหล่านี้พยายามที่จะเป็นเจ้าของเทคโนโลยีด้านอวกาศของตนเองเพื่อโอกาสทางเศรษฐกิจ ไม่ว่าจะเป็นการทำเหมืองแร่หายากจากดวงจันทร์ หรือการขยายอาณานิคมของประเทศไปบนดาวอังคาร อำนาจต่อรองในอนาคตเกี่ยวข้องโดยตรงกับระดับความสามารถทางเทคโนโลยีของแต่ละประเทศ ในบทความนี้จะมาเล่าถึงในส่วนของยุโรปที่พยายามเป็นเจ้าของเทคโนโลยีด้านอวกาศเช่นเดียวกันโดยใช้การพิมพ์ 3 มิติในการผลิต

MTA เปิดตัวฮับความรู้ เพื่อช่วยผู้ผลิตในสหราชอาณาจักรใช้เทคโนโลยีเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมากขึ้น

บริษัทผู้ผลิตทั่วโลกกำลังเผชิญปัญหาเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นภาวะเงินเฟ้อที่เป็นปัจจัยหลักทำให้ต้นทุนการผลิตสูงขึ้น ราคาพลังงานที่ถีบตัวสูงขึ้น ปัญหาการขาดแคลนแรงงาน ตลอดจนค่าแรงที่สูงขึ้นในประเทศไทยของเรา ทำให้แต่ละบริษัทจำเป็นต้องลงทุนเทคโนโลยีใหม่ ๆ เพื่อแก้ปัญหาในเรื่องต่าง ๆ ที่กล่าวมา 

Mitsubishi Electric เข้าร่วมโปรแกรมหุ้นส่วนเชิงกลยุทธ์ของ Module Works

ในปัจจุบันกระแสการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล (Digital Transformation) กำลังมาแรง บริษัทต่าง ๆ จำเป็นต้องยกระดับประสิทธิภาพในองค์กรผ่านการเปลี่ยนแปลงกระบวนการทำงานให้เป็นดิจิทัล (Digitalisation) ตลอดจนใช้ซอฟต์แวร์เพื่อทำให้กระบวนการทำงานง่ายขึ้น การลงทุนในการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ ๆ อันทันสมัยเป็นสิ่งจำเป็น ซึ่งแนวทางที่จะมีเทคโนโลยีเข้ามาเพิ่มประสิทธิภาพให้กับบริษัท ได้แก่

เทคโนโลยีและการออกแบบทางวิ่งร้อนช่วยประหยัดการใช้พลังงานได้อย่างไร

โดยปกติแม่พิมพ์ฉีดขึ้นรูปมีการใช้พลังงานความร้อนสูง การเลือกเครื่องมือแม่พิมพ์ที่ประหยัดพลังงานมีความสำคัญ แม่พิมพ์ฉีดขึ้นรูปที่มีการออกแบบและมีฟังก์ชันประหยัดพลังงานนั้นอาจมีการลงทุนที่สูงกว่าในตอนแรกแต่ประหยัดต้นทุนพลังงานกว่าในระยะยาว ในขณะที่ผู้เลือกซื้อเครื่องมือเครื่องจักรจำเป็นต้องมีความเข้าใจในด้านเทคนิคเชิงลึกเพื่อให้ทราบและเข้าใจที่มาของการประหยัดพลังงาน ตลอดจนความหมายของตัวเลขในการเลือกเครื่องจักรรุ่นนั้น ๆ 

Stellantis Venture Awards 2023 สำหรับ 11 สตาร์ทอัพที่ร่วมพัฒนาการเคลื่อนที่แบบยั่งยืน

การคิดค้นนวัตกรรมใหม่ ๆ ของบริษัทขนาดใหญ่ที่ดำเนินการมาเป็นเวลานาน นอกจากบริษัทจะทำการวิจัยและพัฒนาขึ้นมาเองนั้นต้องใช้เวลาเป็นอย่างมาก อีกทั้งอาจต้องใช้วิธีเข้าซื้อหรือร่วมลงทุนในบริษัทขนาดเล็กที่มีนวัตกรรมนั้นอยู่แล้วมาต่อยอดสิ่งที่บริษัทกำลังทำอยู่ ตัวอย่างเช่น การซื้อกิจการ Youtube ของ Google การร่วมลงทุนใน OpenAI ของ Microsoft หรือยังมีอีกแนวทางหนึ่ง

Lehvoss นำเสนอความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีพอลิเมอร์ที่ผสานประสิทธิภาพและความยั่งยืน

ในปัจจุบันมีการใช้งานพลาสติกให้คุ้มค่ามากขึ้น ตลอดจนนำกลับมารีไซเคิลเพื่อใช้ใหม่ให้ได้มากที่สุดเท่าที่เป็นไปได้ บริษัทต่าง ๆ พยายามคิดค้นนวัตกรรมที่ช่วยให้พลาสติกมีประสิทธิภาพดีขึ้น ไปจนถึงการใช้มาสเตอร์แบทช์สำหรับเติมแต่งลงในพอลิเมอร์เพื่อเพิ่มความแข็งแกร่งให้ผลิตภัณฑ์มีน้ำหนักเบา อีกทั้งยังลดการใช้พลังงานตลอดอายุการใช้งาน และลดการปล่อยคาร์บอนสู่ชั้นบรรยากาศ 

ชุบชีวิต Norton แบรนด์มอเตอร์ไซค์อังกฤษ ด้วยการผสานเทคโนโลยีแบบเก่าและใหม่

โอกาสในการปรับปรุงสิ่งต่าง ๆ ให้ดีขึ้นนั้นมีอยู่ในทุกหนแห่ง ยิ่งสิ่งที่เป็นมรดกตกทอดทำกันมานานยิ่งมีโอกาสปรับปรุงพัฒนาและสามารถเห็นได้ชัดเจนในสายตาของผู้มาใหม่ อาจเป็นเจ้าของหรือผู้บริหารใหม่ ด้วยเหตุผลเดียวกันนี้ในบริษัททั่วไปเมื่อต้องการขับเคลื่อนผลประกอบการให้ดีขึ้นจึงมักใช้การเปลี่ยนผู้บริหารเพื่อเติมแนวความคิดใหม่ ๆ ใส่ลงไปในธุรกิจเดิม 

Excel Precision Group ก้าวข้ามวิกฤตค่าพลังงานพุ่ง ด้วยการลงทุนเครื่อง EDM ‘Sodick’

เทคโนโลยีและเครื่องจักรรุ่นใหม่ที่ออกมามีการพัฒนาประสิทธิภาพมากขึ้น ประหยัดพลังงานมากขึ้น แม้ว่าการลงทุนซื้อเครื่องจักรใหม่จะเป็นการลงทุนที่สูงในตอนแรก แต่อาจเป็นการประหยัดกว่าในระยะยาว ทั้งค่าพลังงาน ประสิทธิภาพ และความรวดเร็วในการผลิต ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับจำนวนชั่วโมงแรงงานที่ต้องใช้ในการผลิตแต่ละชิ้นงาน เพื่อให้ได้คุณภาพชิ้นงานที่สูงขึ้น ด้วยต้นทุนต่ำลง จึงทำให้สามารถแข่งขันได้ 

Aim 3D ใช้วัสดุ ‘เรซิน Ultem 9085’ ในการพิมพ์ 3 มิติ ลดต้นทุนได้ถึง 7 เท่า !!

ในปัจจุบันการผลิตแบบเติมวัสดุเป็นตัวเลือกของเทคโนโลยีที่มีศักยภาพและทะลายข้อจำกัดได้หลายอย่าง ตั้งแต่ความมีอิสระในการออกแบบ การผลิตแบบไม่ต้องมีขั้นต่ำ ชิ้นเดียวก็สามารถผลิตได้ ความรวดเร็วและความยืดหยุ่นในการผลิต แค่มีเครื่องพิมพ์และวัสดุก็สามารถทำการผลิตได้ทันที