เศรษฐกิจหมุนเวียน

Plastic Fever: การเดินทางของ (ขยะ) พลาสติก (1)

“พลาสติกไม่มีความหมายหากไม่แยกออกว่าเป็นพลาสติกแบบไหน” – Richard Jones บมจ.อินโดรามา เวนเจอร์ การเดินทางของขยะพลาสติก มันมาจากไหน เดินทางไปไหนต่อ ท้ายที่สุดกลับมาหาเราในรูปแบบใด สินค้าประเภทไหน ติดตามชมกันค่ะ

Circular Economy: เศรษฐกิจหมุนเวียน กับ “ขยะที่ไม่ใช่ขยะ” (1)

เริ่มต้นจากคำถาม ใครผลิตขยะมากที่สุด ประเทศไหนสร้างมลพิษสูงสุด ใครปล่อยก๊าซคาร์บอนออกสู่ชั้นบรรยากาศสูงสุด ประเทศใดตระหนักเรื่องสภาพแวดล้อมมากที่สุด แต่สุดท้ายอาจกลับมาสู่คำถามว่า ทำได้แค่ไหน จริงหรือเปล่า หรือแค่คำโฆษณา  สหภาพยุโรปมีการจัดอันดับประเทศที่เป็น CE (Circular Economy) สูงสุด

Why Circular: กรุงเทพฯ ในยุคเศรษฐกิจหมุนเวียน

จากความเป็นเมืองสู่ Waste มากมายมหาศาลที่ต้องจัดการแบบยั่งยืน Urbanization ความเป็นเมือง หรือ การขยายตัวของสังคมเมือง เป็นหนึ่งใน “เมกะเทรนด์” สำคัญของโลก เกิดจากการรวมตัวของผู้คนจำนวนมากจนกลายเป็นชุมชนเมืองขนาดใหญ่ อาจเกิดจากการกระจายความเจริญของเมือง จากเมืองศูนย์กลางออกไปยังเมืองอื่นๆ ซึ่งได้เข้ามาเปลี่ยนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน ตลอดจนรูปแบบและการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างสิ้นเชิง ความเป็นเมืองรอบโลก:

Tools Life: ฟินแลนด์สร้างเศรษฐกิจหมุนเวียนอย่างไร

เก็บตกจากงาน Asean Sustainable Energy Week หรือ ASE 2019 ที่ไบเทคบางนาเมื่อสัปดาห์ก่อน Toolmakers ได้มีโอกาสเข้าร่วมในวงเสวนาด้านพลังงานโดยมีสถานทูตฟินแลนด์ประจำประเทศไทยเป็นผู้ร่วมจัดในหัวข้อ “Finland towards the Circular

แบรนด์ดังผนึกกำลังยกระดับการรีไซเคิล PET ด้วยเทคโนโลยีชีวภาพครั้งแรกของโลก

ภายใต้แนวโน้มเศรษฐกิจหมุนเวียน หรือ circular economy และการนำของประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำโดยเฉพาะทางฟากยุโรป เราจะได้รับทราบข่าว ทั้งการรณรงค์ การผลักดันในระดับนโยบายเกี่ยวกับเรื่องนี้อยู่บ่อยครั้ง ส่วนหนึ่งมันไม่ใช่แค่เทรนด์แต่คือทางรอดทางหนึ่งของมนุษยชาติ มันคือเรื่องของการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างชาญฉลาด ในขณะที่เทคโนโลยีอันชาญฉลาดด้านอื่นๆ ก้าวล้ำไปไกลเกินกว่าจะย้อนคืน

เทรนด์วัสดุทดแทน (Circular Supplies) กับงานออกแบบ

วัสดุทดแทน (Circular Supplies) ช่วยขับเคลื่อนธุรกิจสู่เศรษฐกิจหมุนเวียน  (Circular Economy) และกำลังสั่นสะเทือนตลาดวัสดุทั่วโลก ด้วยการนำเทคโนโลยีด้านโครงสร้างทางชีวภาพ (Biological Technologies) เช่น Bio-Energy หรือ Bio-Based Materials

ทำไมต้อง CIRCULAR ECONOMY ทางรอดของมนุษย์ในยุค ANTHROPOCENE (ตอนจบ)

นวัตกรรมจากธรรมชาติ “โลกที่ยั่งยืนนั้นมีอยู่แล้ว…แค่เรามองเข้าไปในธรรมชาติ”  คือคำยืนยันของ เจนีน เบนยัส (Janine Benyus) ผู้เขียนหนังสือ ชีวลอกเลียน: นวัตกรรมบันดาลใจจากธรรมชาติ (Biomimicry: Innovation Inspired by Nature)

ทำไมต้อง Circular Economy ทางรอดของมนุษย์ในยุค Anthropocene (ตอนที่ 1)

ข่าวสำคัญมากๆ เมื่อต้นเดือนตุลาคมที่ผ่านมา คือคำเตือนครั้งสุดท้ายของนักวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศของโลก โดยสรุปก็คือ รายงานล่าสุดจากคณะกรรมการระหว่างรัฐบาลว่าด้วยการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ (IPCC) ชี้ชัดว่าถ้ามนุษย์จะรักษาโลกนี้เอาไว้ได้ ทุกฝ่ายทุกประเทศต้องลงมือปฏิวัติรูปแบบเศรษฐกิจ การผลิตและการบริโภคตั้งแต่เดี๋ยวนี้ และเรามีเวลาอีกไม่เกิน 12 ปีเท่านั้น ในการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกให้ได้อย่างน้อยครึ่งหนึ่ง โดยเปลี่ยนไปใช้พลังงานหมุนเวียนแทนเชื้อเพลิงฟอสซิล