Additive Manufacturing

Trumpf’ สนับสนุนอุตสาหกรรมการบินอย่างยั่งยืนด้วยเทคโนโลยีเลเซอร์และการพิมพ์ 3 มิติ

การปล่อยคาร์บอนมีอยู่ในทุกกระบวนการทั้งในภาคอุตสาหกรรมและภาคขนส่ง สำหรับเทรนด์ล่าสุดของอุตสาหกรรมยานยนต์ คือ การเปลี่ยนไปใช้ยานยนต์ไฟฟ้า คุณผู้อ่านอาจสังเกตรถประจำทางในปัจจุบันมีการเปลี่ยนมาเป็นรถบัสไฟฟ้าเกือบทั้งหมด ซึ่งให้บริการโดยบริษัทพลังงานไฟฟ้าบริสุทธิ์ (EA) รวมถึงมีบริการเรือเฟอร์รี่ไฟฟ้าด้วย แนวทางหนึ่งในการลดการปล่อยคาร์บอนสำหรับยานพาหนะ คือ การเปลี่ยนมาใช้ระบบการขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าเพื่อลดการปล่อยมลภาวะขณะใช้งาน ส่วนอุตสาหกรรมการบินอวกาศก็กำลังพยายามลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกเช่นเดียวกัน โดยการออกแบบให้อากาศยานมีน้ำหนักเบาลง และมีเครื่องยนต์ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น ตลอดจนกำลังพัฒนาความเป็นไปได้ในการขับเคลื่อนอากาศยานด้วยไฟฟ้า

เปิดตัวเทคโนโลยีสำหรับอุตสาหกรรมการผลิตแบบเติมวัสดุในงาน Rapid + TCT 2023

‘Rapid + TCT’ งานแสดงสินค้าและการประชุมอุตสาหกรรมการผลิตแบบเติมวัสดุที่ใหญ่ที่สุดในอเมริกาเหนือ ในปีนี้ ID Tech Ex ได้เข้าร่วมงานพร้อมสัมภาษณ์ผู้แสดงสินค้าเด่น ๆ และร่วมสังเกตการณ์เทรนด์อุตสาหกรรมต่าง ๆ บทความนี้จะอัปเดตสิ่งที่ ID Tech

‘Method XL’ เครื่องพิมพ์ 3 มิติระดับวิศวกรรม รองรับชิ้นส่วนขนาดใหญ่

เครื่องพิมพ์ 3 มิตินั้นมีหลากหลายขนาดและหลายประเภท มีทั้งแบบเครื่องพิมพ์ตั้งโต๊ะ (Desktop) ไปจนถึงเครื่องขนาดใหญ่ระดับอุตสาหกรรม การวางตำแหน่งทางการตลาดของแต่ละผลิตภัณฑ์ก็มีความแตกต่างกัน บางแบรนด์เน้นเรื่องความละเอียดของการผลิต (X-Jet) บางแบรนด์เน้นการผลิตชิ้นงานที่มีขนาดใหญ่มาก (Massivit 3D) ในขณะที่บางแบรนด์เน้นการผลิตด้วยความเร็วสูง

ซอฟต์แวร์การพิมพ์ 3 มิติที่ช่วยออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์

คุณผู้อ่านคงคุ้นเคยเวลาที่เราใช้โปรแกรมทำงานเอกสารอย่าง Google Doc หรือแม้กระทั่งการพิมพ์อีเมลใน Gmail ปัจจุบันจะมี AI เข้ามาช่วยแนะนำไฮไลต์ข้อผิดพลาด แนะนำการใช้ภาษาให้ถูกต้องตามหลักไวยากรณ์ ซึ่ง AI นี้มีฐานข้อมูลรูปแบบประโยคที่ถูกต้องจำนวนมาก จึงสามารถช่วยงานในลักษณะนี้ได้เป็นอย่างดี

Impossible Objects เปิดตัวเครื่องพิมพ์ 3 มิติที่เคลมว่าเร็วที่สุดในโลก

บริษัทผู้ผลิตเครื่องพิมพ์ 3 มิติ Impossible Objects เปิดตัวเครื่องพิมพ์ ‘CBAM 25’ สำหรับวัสดุคอมโพสิต ในงานแสดงสินค้า Rapid +TCT ที่เมืองชิคาโก โดยชูจุดขายที่บริษัทเคลมว่าความเร็วในการพิมพ์สูงกว่าคู่แข่งถึง 15

เทคโนโลยี มุมมอง และแนวโน้มล่าสุดของตลาดการผลิตแบบเติมวัสดุในปี 2023

ในปัจจุบันการผลิตด้วยวิธีเติมวัสดุหรือการพิมพ์ 3 มิติ เป็นที่รู้จักและใช้งานกันอย่างแพร่หลาย จากแต่เดิมใช้สำหรับการทำต้นแบบ (Prototyping) ด้วยความเร็วในการผลิตที่ช้าและต้นทุนสูง แต่ในปัจจุบันเริ่มมีการนำมาใช้เป็นกระบวนการผลิตหนึ่งในห่วงโซ่การผลิตเนื่องจากความเร็วในการผลิตที่ดีขึ้นและต้นทุนที่ถูกลงด้วยการใช้วัสดุแบบเม็ด (Pallet)

X-Jet นำเสนอโซลูชันการผลิตแบบเติมวัสดุความละเอียดสูงและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม

ในงาน Formnext 2022 ที่ผ่านมา XJet แสดงให้เห็นว่าผู้ผลิตสามารถผลิตแบบเติมวัสดุที่เป็นอัตโนมัติ เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม และสามารถปรับขนาดของชิ้นส่วนโลหะและเซรามิกความละเอียดสูงได้   

เลือก ‘Renishaw’ เพื่อประสิทธิภาพการผลิตแบบเติมวัสดุและสร้างต้นแบบอย่างรวดเร็ว

เทคโนโลยีในภาคอุตสาหกรรมมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง การที่ธุรกิจการผลิตจะคงความสามารถในการแข่งขันได้นั้นจำเป็นต้องลงทุนในเครื่องมือเครื่องจักรที่ทันสมัย ไม่ว่าจะเป็นคุณภาพของชิ้นงาน ความเร็วต่อความต้องการของลูกค้า ต้นทุน อีกทั้งยังมีเรื่องของการควบคุมคาร์บอนฟุตพรินต์ที่ต้องสามารถระบุปริมาณและแจกแจงที่มาได้ นอกจากนี้ระบบการพิมพ์ 3 มิติก็มีหลายระดับ บางระบบหลังพิมพ์เสร็จแล้วยังต้องมีขั้นตอนอีกมากมาย ในขณะที่เทคโนโลยีขั้นสูงบางระบบสามารถให้พื้นผิวที่สมบูรณ์ออกจากเครื่องได้เลย ความเร็วในการผลิตเป็นปัจจัยสำคัญในการแข่งขัน การใช้ระบบที่มีความอัตโนมัติมากที่สุดจึงเป็นเรื่องที่สะดวกมากกว่า อย่างไรก็ตาม ผู้ผลิตก็ยังจำเป็นที่ต้องคอยสังเกตการณ์นวัตกรรมใหม่

‘Exam 255’ เครื่องพิมพ์ 3 มิติหลากหลายวัสดุ จาก AIM3D 

ในการเลือกซื้อเครื่องพิมพ์ 3 มิติ นอกจากการให้ผลิตภาพและระดับคุณภาพที่ต้องการแล้ว ในแง่ของการลงทุนนั้นไม่ได้มีเฉพาะต้นทุนค่าเครื่องจักรเพียงอย่างเดียว ยังมีต้นทุนในการปฏิบัติการระยะยาวอย่างประสิทธิภาพการใช้พลังงาน การใช้และเลือกซื้อวัสดุสิ้นเปลือง ในปัจจุบันวัสดุในการพิมพ์เปิดกว้างมากขึ้น มีทั้งวัสดุแบบเปิดและปิด ซึ่งผู้ใช้เครื่องพิมพ์อาจไม่จำเป็นต้องซื้อวัสดุจากเจ้าของเครื่องพิมพ์ แต่ใช้ของวัสดุจากรายอื่นที่ได้รับการรับรองจากผู้ผลิตเครื่องพิมพ์ว่าสามารถใช้ด้วยกันได้

โซลูชันการพิมพ์ 3 มิติเพื่อผลิตดาวเทียมขนาดเล็กปล่อยสู่ชั้นบรรยากาศ

เทคโนโลยีจรวด หรือ ดาวเทียม อาจฟังดูว่าเป็นสิ่งที่เข้าถึงยาก ต้องเป็นบริษัทที่มีเงินทุนสูงอย่าง SPACEX หรือองค์กร NASA ที่จะเข้าถึงและผลิตได้ แต่ในปัจจุบันโลกได้เปลี่ยนไปแล้ว ความรู้ในการสร้างดาวเทียมขนาดเล็กสามารถหาได้จากแหล่งข้อมูลเปิดที่แชร์ให้คนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ (Open Source) ในขณะเดียวกันวัสดุที่ใช้เป็นเกรดที่ใช้ได้กับอวกาศสามารถทนต่อสภาวะสุดขั้วที่สุด และเทคโนโลยีการผลิตก็สามารถเข้าถึงได้ง่ายด้วยเครื่องพิมพ์